วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

20 เว็บยอดนิยมของไทย

                                                 20 เว็บยอดนิยม
1.เฟชบุ๊ก
         https://www.facebook.com

2.วิกิพีเดีย
        https://th.wikipedia.org
3. กูเกิ้ลโคม
       http://www.google.com 
4. ยูทูป
       https://www.youtube.com
5.สนุกดอทคอม
       https://www.sanook.com
6. ยาฮู
       https://www.yahoo.com
7. ไฮไฟล์
       https://hi5.com
8.บล็อกเกอร์
       https://draft.blogger.com
9.พันทิพ
       
https://pantip.com

10. โฟแชร์
       https://www.4shared.com
11.เด็กดีดอทคอม
      https://www.dek-d.com
12.อเมซอล
       https://www.amazon.com
13.เมเนเจอร์
       https://mgronline.com
14.ทวิตเตอร์
       https://twitter.com
15.น่ารักดอทคอม
       
http://www.narak.com

16.ไทยรัฐดอทคอม
       https://www.thairath.co.th
17. ลาซาด้า
       https://pages.lazada.co.th
18.ขายดีดอทคอม
       https://www.kaidee.com
19.ช้อปปี้
        https://shopee.co.th
20.มูฟวี่ทูฟรี
       https://movie2free.com
    

  เว็บไซค์ที่ชื่นชอบ (รีวิว)


                                                      เฟชบุ็ก  https://www.facebook.com  
          ปัจจุบัน Facebook ได้รับความนิยมกันมากในหมู่วัยรุ่น และบุคคลที่ต้องการสื่อสารกัน แม้ว่า Facebook จะถูกสร้างขึ้นเพื่อให้สามารถติดต่อสัมพันธ์กันในทางบวก แต่ในทางกลับกัน Facebook ก็เป็นสื่อที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ในเวลาเดียวกัน Facebook คืออะไร? Facebook เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมบนอินเตอร์เน็ต โดยผู้ใช้สามารถใส่สร้างหน้าโปรไฟล์, อัพโหลดรูปถ่าย, อัพเดทสเตตัส, แชร์ข้อมูลต่างๆ และเชื่อมโยงต่อไปหาผู้ใช้อื่นๆ ได้
Facebook ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 2004 โดย Mr. Mark Zuckerburg ปัจจุบันอายุ 31 ปี โดยขณะที่คิดค้นเวบไซต์นี้ Mr. Mark Zuckerburg เป็นนักศึกษาแผนกจิตวิทยา ของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด สหรัฐอเมริกา และเว็บไซต์เปิดให้บริการเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดในการเชื่อมโยงและติดต่อสื่อสารกันเท่านั้น ต่อมาได้ขยายเครือข่ายไปยังนักศึกษาในมหาวิทยาลัยอื่นๆที่อยู่ใน Ivy League (เช่น โคลัมเบีย, สแตนฟอร์ด, และเยล) จนมีสมาชิกมาใช้บริการกันอย่างล้นหลาม จึงทำให้มีการขยายเครือข่ายมากขึ้นและพัฒนามาถึงหลายล้านคนในโลกปัจจุบัน เรามาดูข้อดีและข้อเสียของ Facebook ดังนี้
ข้อดี
  1. ป็นการสร้างเครือข่ายและจุดประกายด้านการศึกษาได้อย่างกว้างขวาง หากใช้ได้อย่างถูกวิธี
  2. ทำให้ไม่ตกข่าว ทราบความคืบหน้า เหตุการณ์ของบุคคลต่างๆ และผู้ที่ใกล้ชิด
  3. ผู้ใช้สามารถสร้างเครือข่ายทางสังคม หรือผู้ที่มีเป้าหมายเหมือนกัน และทำงานให้สำเร็จลุล่วงไปได้
  4. สามารถสร้างมิตรแท้ หรือเพื่อนที่รู้ใจที่แท้จริงได้
  5. เป็นเว็บไซต์ที่เอื้อต่อผู้ที่มีปัญหาในการปรับตัวทางสังคม สร้างเครือข่ายที่ดี สร้างความเห็นอกเห็นใจ และให้กำลังใจที่ดีแก่ผู้อื่นได้

ข้อเสีย
  1. เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เน็ต การมีเพื่อนเพิ่มเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆ ได้
  2. เพื่อนๆ ในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆ ลง Facebook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะหลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
  3. เป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
  4. การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่น การลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก เกิดการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆ ที่คาดไม่ถึงได้
  5. เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
  6. ในการสร้างความผูกพันและการปรับตัวทางสังคมเป็นการพบปะกันในโลกของความจริงมากกว่าในโลกอินเตอร์เน็ต ดังนั้นผู้อยู่ในโลกของ ไซเบอร์มากเกินไปอาจทำให้มีปัญหาทางจิต หรือขาดการปรับตัวทางสังคมที่ดี
  7. เป็นแรงขับให้มีการพบปะทางสังคมในโลกแห่งความเป็นจริงที่น้อยลงได้เนื่องจากทราบความเคลื่อนไหวของผู้ที่อยู่ในเครือข่ายอย่างตลอดเวลา
  8. นโยบายของบางโรงเรียน บางมหาวิทยาลัย บางครอบครัวหรือในบางประเทศมีปัญหามากมายที่เกิดจาก Facebook ทำให้ไม่ได้รับการอนุญาตให้มีในหลายพื้นที่
บทความนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้ปกครองควรเอาใจใส่ลูกหลานของท่านที่อยู่ในช่วงวัยรุ่นซึ่งนิยมท่องโลกอินเตอร์เน็ต ให้มีความระมัดระวังและมีวิจารณญาณในการเล่น Facebook มากยิ่งขึ้น เพราะเป็นทั้งสื่อที่มีทั้งคุณอนันต์และโทษมหันต์ในเวลาเดียวกันด้วย






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

20 เว็บยอดนิยมของไทย

                                                 20 เว็บยอดนิยม 1.เฟชบุ๊ก           https://www.facebook.com 2.วิกิพีเดีย          https:...